วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ใบงานเรื่อง การสืบค้น E-Journals

http://www.mediafire.com/?8o73ov991n8da8x

E-book

http://http//www.ilovelibrary.com/book_detail_nologin.php?id=06600004158&group=

http://scholar.google.co.th/scholar?hl=th&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87&as_ylo=&as_vis=1

http://scholar.google.co.th/scholar?hl=th&q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87&as_ylo=&as_vis=1

ข่าวประจำสัปดาห์ที่ 6

“กูเกิล สกอลาร์” เสิร์ชใหม่ เอาใจนักวิทยาศาสตร์

วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ข่าวประจำสัปดาห์ที่5

Peter Jacso Takes on Google Scholar Finding Ghost Authors, Lost Authors, and Other Problems
Access the Full Text of the Entire Article
With all of the talk about Google Book Search lately, little has been written about Google Scholar. Now, in a lengthy and well-documented analysis (numerous screenshots) published in Library Journal, Dr. Peter Jacso from the University of Hawaii at Manoa, a monthly columnist for Gale/Cengage and a friend of ResourceShelf, documents some of the problems (two of them named in the title of the article) that he has found while using Google Scholar [GS] during the past several months. Actually, some of the problems go back years.
Here are just a few passages from Dr. Jacso’s article that we found to be of greatest interest:
They [the Google Scholar developers] decided—very unwisely—not to use the good metadata generously offered to them by scholarly publishers and indexing/abstracting services, but instead chose to try and figure them out through ostensibly smart crawler and parser programs.
Millions of records have erroneous metadata, as well as inflated publication and citation counts
A free tool, Google Scholar has become the most convenient resource to find a few good scholarly papers—often in free full-text format—on even the most esoteric topics. [Our emphasis] For topical keyword searches, GS is most valuable. But it cannot be used to analyze the publishing performance and impact of researchers.
Very often, the real authors are relegated to ghost authors deprived of their authorship along with publication and citation counts. [Our emphasis] In the scholarly world, this is critical, as the mantra “publish or perish” is changing to “publish, get cited or perish.”
[Our emphasis] While GS developers have fixed some of the most egregious problems that I reported in several reviews, columns and conference/workshop presentations since 2004—such as the 910,000 papers attributed to an author named “Password”—other large-scale nonsense remains and new absurdities are produced every day.
The numbers in GS are inflated for two main reasons. First, GS lumps together the number of master records (created from actual publications), and the number of citation records (distinguished by the prefix: [citation]) when reporting the total hits for author name search.
…fee-based Web of Science and Scopus have lower article and citation counts and scientometric indicators, as they have a far more selectively defined source base with fewer journals from which to gather publication and citations data. In addition, they count only the master records for the authors’ publication count (as they should), and keep the stray and orphan citations in a separate file.
Unfortunately, the bad metadata has a long reach. These numbers are taken at face value by the free utilities such as the Google Scholar Citation Count gadget by Jan Feyereisl and the sophisticated and pretty Publish or Perish (PoP) software (produced by Tarma Software).
As about 10.2 million records from GBS [Google Book Search] are incorporated now in GS, the metadata disaster likely will continue unabated. It is bad enough to have so many records with erroneous publication years, titles, authors, and journal names.
In its stupor, the parser fancies as author names (parts of) section titles, article titles, journal names, company names, and addresses, such as Methods (42,700 records), Evaluation (43,900), Population (23,300), Contents (25,200), Technique(s) (30,000), Results (17,900), Background (10,500), or—in a whopping number of records— Limited (234,000) and Ltd (452,000). The numbers kept growing by several hundred thousands hits for the cumulative total of the above ”authors” during the few days this paper was being written. More screenshots are available here.
Lost Authors
These errors could be considered relatively harmless if they did not affect the contributions of genuine, real scholars. But the biggest problem is when the mess replaces real scholars with ghost authors, leaving the former as lost authors.
[Our emphasis] Certainly the entire database isn’t rotten, just a few million records. That may be a relatively small percentage—Google won’t reveal the total number of records, and these are just my few forensic search test queries—but there’s ample cause for worry.
In case of GBS [Google Book Search], Google relied on its collective Pavlovian reflex to blame the publishers and libraries (meaning the librarians, catalogers, indexers) for the wrong metadata.
In the case of Google Scholar, these same Googlish arguments will not fly, because practically all the scholarly publishers gave Google—hats in hand—their digital archive with metadata. The idea was to have Google index it and drive traffic to the publishers’ sites.
Yes, GS has fixed fairly quickly some of the major errors that I earlier used to demonstrate its illiteracy and innumeracy, but have so far left millions of others untouched.
GS designers have sent very under-trained, ignorant crawlers/parsers to recognize and fetch the metadata elements on their own. Not all of the indexing/abstracting services are perfect and consistent, but their errors are dwarfed by the types and volume of those in GS. This is the perfect example of the lethal mix of ignorance and arrogance GS developers applied to metadata and relevance ranking issues.
The parsers have not improved much in the past five years despite much criticism. GS developers corrected some errors that got negative publicity, but these were Band-Aids, where brain surgery and extensive parser training is required. Without these, GS will keep producing similar errors on a mega-scale.

ที่มา http://www.resourceshelf.com/2009/09/24/google-scholar%E2%80%99s-ghost-authors-lost-authors-and-other-problems/

ข่าวประจำสัปดาห์ที่4

ความช่วยเหลือ
ทำความเข้าใจกับผลการค้นหา
ผลการค้นหาแต่ละรายการของ Google Scholar แสดงถึงเนื้อเรื่องของผลงานทางวิชาการ ซึ่งอาจมีบทความที่เกี่ยวข้องอย่างน้อยหนึ่งเรื่อง หรือแม้แต่บทความเรื่องเดียวในหลายเวอร์ชัน ตัวอย่างเช่น ผลการค้นหาอาจประกอบด้วยกลุ่มบทความที่รวมถึงร่างบทความ บทความจากการประชุม บทความจากวารสาร และประชุมบทนิพนธ์ ซึ่งทั้งหมดนี้เชื่อมโยงกับการค้นคว้าวิจัยเดียวกัน การจัดกลุ่มบทความเหล่านี้ทำให้เราสามารถวัดผลกระทบของการค้นคว้าวิจัยได้แม่นยำขึ้น และแสดงการค้นคว้าวิจัยอื่นๆ ในสาขาเดียวกันได้ดีขึ้น
ผลการค้นหาแต่ละรายการจะมีข้อมูลบรรณานุกรม เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน และแหล่งสิ่งตีพิมพ์ ข้อมูลบรรณานุกรมหนึ่งชุดจะเชื่อมโยงกับกลุ่มของบทความที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และเป็นการประเมินที่ดีที่สุดของเราต่อบทความตัวอย่างสำหรับกลุ่มนั้น ข้อมูลบรรณานุกรมนี้เป็นไปตามข้อมูลจากบทความในกลุ่ม เช่นเดียวกับการอ้างอิงถึงบทความเหล่านี้โดยผลงานทางวิชาการอื่นๆ


คำอธิบายเกี่ยวกับลิงก์
1.
ชื่อเรื่อง – ลิงก์ไปยังบทคัดย่อของบทความ หรือเมื่อมีบทความฉบับสมบูรณ์บนเว็บ
2.
อ้างอิงโดย – ระบุบทความอื่นที่ได้อ้างอิงถึงบทความในกลุ่ม
3.
บทความที่เกี่ยวข้อง – ค้นหาบทความอื่นที่คล้ายกับบทความในกลุ่มนี้
4.
Library Links (ออนไลน์) – ค้นหาตำแหน่งของผลงานในเวอร์ชันอิเล็กทรอนิกส์จาก ทรัพยากรของห้องสมุด ทั้งหมดที่คุณเป็นสมาชิก ลิงก์เหล่านี้จะปรากฏขึ้นอัตโนมัติหากคุณอยู่ในวิทยาเขต
5.
Library Links (ออฟไลน์) – ค้นหาตำแหน่งของห้องสมุดซึ่งมีสำเนารูปเล่มของผลงานนั้น
6.
กลุ่มของ – ค้นหาบทความอื่นๆ ที่อยู่ในกลุ่มผลงานทางวิชาการนี้ ซึ่งคุณอาจสามารถเข้าถึงได้ในเบื้องต้น ตัวอย่าง ได้แก่ ร่างบทความ บทคัดย่อ บทความจากการประชุม หรือบทความดัดแปลงอื่นๆ
7.
การค้นหาบนเว็บ – ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับผลงานนี้บน Google
8.
BL Direct – ซื้อบทความฉบับเต็มผ่าน British Library Google ไม่ได้รับค่าตอบแทนใดๆ จากบริการนี้
การค้นหาใน Google Scholar
ฉันจะค้นหาจากผู้เขียนได้อย่างไร
ป้อนชื่อผู้เขียนในเครื่องหมายอัญประกาศ: "d knuth". เมื่อต้องการเพิ่มจำนวนผลลัพธ์ ใช้อักษรตัวแรกแทนชื่อจริง
หากคุณพบว่ามีบทความที่กล่าวถึงผู้เขียนดังกล่าวมากเกินไป คุณอาจใช้ตัวดำเนินการ "ผู้เขียน:" เพื่อค้นหาผู้เขียนที่ต้องการ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถลอง [ผู้เขียน:knuth], [ผู้เขียน:"d knuth"] หรือ [ผู้เขียน:"donald e knuth"]
ยังไม่ตรงตามที่ต้องการหรือ โปรดลองใช้ หน้าการค้นหาขั้นสูง ของเรา สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู เคล็ดลับในการค้นหาขั้นสูง ของเรา
ฉันจะค้นหาจากชื่อเรื่องได้อย่างไร
ใส่ชื่อเรื่องของบทความในเครื่องหมายอัญประกาศ: "ประวัติศาสตร์ทะเลจีน" Google Scholar จะค้นหาบทความนั้นโดยอัตโนมัติ รวมทั้งบทความอื่นๆ ที่กล่าวถึงทะเลจีน
ฉันจะค้นหาการค้นคว้าวิจัยล่าสุดเกี่ยวกับหัวข้อหนึ่งๆ ได้อย่างไร
เพียงคลิกที่ "บทความล่าสุด" ตรงด้านขวาของหน้าผลลัพธ์ใดๆ ผลลัพธ์ของคุณจะถูกจัดเรียงใหม่เพื่อให้คุณพบการค้นคว้าวิจัยที่ใหม่กว่าได้เร็วขึ้น การจัดลำดับใหม่นี้คำนึงปัจจัยต่างๆ เช่น ความโดดเด่นของบทความก่อนๆ ของผู้เขียนหรือวารสารนั้น รวมทั้งบทความฉบับเต็มแต่ละเรื่อง และความถี่ที่มีการอ้างอิงถึง
บทความที่เกี่ยวข้องจะเชื่อมโยงไปที่ใด
สำหรับผลการค้นหาของ Google Scholar แต่ละรายการ เราพยายามที่จะระบุว่าบทความใดในดัชนีของเราที่เกี่ยวข้องมากที่สุดโดยอัตโนมัติ คุณสามารถดูรายการของบทความเหล่านี้ได้ โดยคลิกที่ลิงก์ "บทความที่เกี่ยวข้อง” ซึ่งอยู่ถัดจากผลลัพธ์ต่างๆ ในเบื้องต้น รายการของบทความที่เกี่ยวข้องจะถูกจัดอันดับตามความคล้ายคลึงกับผลลัพธ์เดิม แต่ยังคำนึงถึงความเกี่ยวข้องของบทความแต่ละเรื่องด้วยเช่นกัน การค้นหาชุดของบทความและหนังสือที่เกี่ยวข้องมักเป็นวิธีการที่ดีเยี่ยมในการทำให้ผู้เริ่มต้นคุ้นเคยกับหัวข้อ อย่างไรก็ตาม เราพบว่าบางครั้งแม้แต่ผู้เชี่ยวชาญก็อาจแปลกใจที่ค้นพบผลงานที่เกี่ยวข้องในสาขาที่ตนเชี่ยวชาญ
ฉันจะค้นหาบทความในสิ่งตีพิมพ์เฉพาะได้อย่างไร
ภายใน หน้าการค้นหาขั้นสูง คุณสามารถระบุคำหลักซึ่งต้องปรากฏทั้งในชื่อบทความและชื่อสิ่งตีพิมพ์ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู เคล็ดลับในการค้นหาขั้นสูง ของเรา
ฉันจะค้นหาจากประเภทได้อย่างไร
จาก หน้าการค้นหาขั้นสูง คุณสามารถค้นหางานเขียนทางวิชาการได้ภายในการค้นคว้าวิจัยเจ็ดสาขาทั่วไป เพียงทำเครื่องหมายเลือกที่ช่องสำหรับสาขาวิชาที่คุณสนใจจะค้นหา
เพราะเหตุใดจึงมีชื่อผู้เขียนอยู่ที่ด้านซ้ายของหน้าผลลัพธ์ของฉัน
เราจะแนะนำผู้เขียนที่เกี่ยวข้องกับการค้นหาของคุณโดยอัตโนมัติ – เพียงคลิกที่ชื่อผู้เขียน และคุณจะเห็นบทความของพวกเขา การค้นหาผู้เขียนซึ่งเผยแพร่เกี่ยวกับหัวข้อที่คุณสนใจมักเป็นวิธีการที่ดีเยี่ยมในการทำความคุ้นเคยกับสาขาวิชาให้มากขึ้น และค้นพบผลงานที่เกี่ยวข้องซึ่งคุณอาจไม่พบหากไม่ใช่วิธีการนี้
คำถามทั่วไป
คุณรวมอะไรไว้ใน Google Scholar บ้าง
Google Scholar ครอบคลุมบทความ peer-reviewed วิทยานิพนธ์ หนังสือ บทคัดย่อ และงานเขียนทางวิชาการอื่นๆ จากการค้นคว้าวิจัยในสาขาทั่วไปทั้งหมด คุณจะพบผลงานจากสำนักพิมพ์ทางวิชาการและแวดวงวิชาชีพที่หลากหลาย รวมทั้งบทความทางวิชาการที่มีอยู่ทั่วทั้งเว็บ นอกจากนี้ Google Scholar อาจรวมบทความหนึ่งเรื่องในเวอร์ชันต่างๆ ซึ่งคุณอาจสามารถเข้าถึงได้ในเบื้องต้น
เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีรวมการค้นคว้าวิจัยของคุณไว้ใน Google Scholar
เพราะเหตุใดจึงไม่มีบทความของฉัน
เราได้ดำเนินการเพื่อรวมแหล่งข้อมูลใหม่ๆ อยู่เสมอ และเป็นไปได้ที่คุณจะพบการเพิ่มเติมในดัชนีของเราในไม่ช้านี้ โปรดตรวจสอบดูว่าสามารถพบบทความอื่นๆ จากวารสาร การประชุม หรือคลังข้อมูลเดียวกันโดยใช้ Google Scholar ได้หรือไม่ หากไม่ได้ โปรดขอให้สำนักพิมพ์หรือแวดวงนักวิชาการให้ ติดต่อเรา เพื่อเราจะได้รวมเนื้อหาของพวกเขา
ผลลัพธ์ที่มีการทำเครื่องหมายว่า [การอ้างอิง] คืออะไร และเพราะเหตุใดฉันจึงคลิกที่ผลลัพธ์นั้นไม่ได้
มีบทความที่มีการอ้างอิงถึงโดยบทความทางวิชาการอื่นๆ แต่เราไม่พบแบบออนไลน์ งานเขียนทางวิชาการจำนวนมากยังอยู่ในรูปแบบออฟไลน์ และผลลัพธ์ที่มีการอ้างอิงเท่านั้นสามารถช่วยให้ผู้ค้นคว้าพบข้อมูลที่เกี่ยวข้องมากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ จนกว่าบทความเหล่านี้จะมีการออนไลน์
แต่ฉันเพิ่งพบการอ้างอิงที่น่าเชื่อถือถึงบทความในวารสารการให้เหตุผลทางตรรกะของโพรซีเมียน! ฉันไม่สามารถอ่านบทความฉบับเต็มจากที่อื่นหรือ
บทความนั้นอาจมีอยู่ในหนังสือที่มีในห้องสมุดของคุณ โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่า มีการเปิดใช้งาน Library Links เพื่อดูว่าห้องสมุดของคุณอนุญาตให้คุณเข้าถึงบทความนั้นหรือไม่
ฉันสามารถเพิ่มการอ้างอิงแบบเต็มของผลลัพธ์บน Google Scholar ในโปรแกรมบริหารบรรณานุกรมของฉันได้อย่างไร
เพียงไปที่หน้า การตั้งค่า Scholar และเลือกรูปแบบการอ้างอิงที่ต้องการในส่วน "โปรแกรมบริหารบรรณานุกรม" ขณะนี้ เรารองรับ RefWorks, RefMan, EndNote และ BibTeX เมื่อบันทึกการตั้งค่าของคุณแล้ว คุณสามารถนำเข้าการอ้างอิงได้โดยคลิกลิงก์ที่ถูกต้องในผลการค้นหาบน Google Scholar ของคุณ
ฉันไม่ได้เป็นสมาชิกของห้องสมุดใดๆ มีวิธีอื่นที่ฉันสามารถอ่านฉบับเต็มแบบออนไลน์ได้ฟรีหรือไม่
อาจมี ร่างบทความ ฉบับร่าง และเวอร์ชันอื่นๆ ของบทความอาจมีอยู่ในแบบออนไลน์โดยไม่ต้องสมัครสมาชิก เรามักจะให้ลิงก์ไปยังหลายเวอร์ชัน แต่โปรดระมัดระวัง: ร่างบทความอาจได้รับการแก้ไขที่สำคัญก่อนจะตีพิมพ์ และคุณอาจกำลังอ่านเอกสารที่มีการแก้ไขสาระสำคัญแล้ว ในบางกรณี บทความอาจไม่มีให้บริการฟรีไม่ว่าในรูปแบบใดๆ คำอธิบายของบทความของฉันไม่ถูกต้อง และฉันไม่พอใจพอสมควร ฉันจะแก้ไขให้ถูกต้องได้อย่างไร
เราขออภัย และโปรดมั่นใจว่าเราไม่ได้ตั้งใจให้เกิดข้อผิดพลาดนั้นขึ้น การดึงข้อมูลโดยอัตโนมัติจากบทความต่างๆ ในหลายสาขาอาจมีความไม่แน่นอน ดังนั้น จึงมีข้อผิดพลาดเล็ดลอดออกมาเป็นบางครั้ง โปรดส่งการค้นหาที่แสดงบทความของคุณมาที่เรา พร้อมกับคำอธิบายที่ถูกต้องซึ่งควรปรากฏขึ้น เราอาจต้องใช้เวลาเล็กน้อยในการแก้ไขความผิดพลาดนี้ เนื่องจากมีสิ่งที่ต้องดำเนินการอีกมากเพื่อทำให้ Google Scholar ทำงานได้ดีขึ้นสำหรับทุกคน ขอขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือและความร่วมมือของคุณ
เพราะเหตุใดคุณจึงขอให้เรา "ยืนบนไหล่ของยักษ์" คุณเป็นยักษ์จริงๆ หรือ
ไม่สักนิดเดียว ข้อความนี้เป็นการยอมรับจากเราว่า การค้นคว้าวิจัยทางวิชาการจำนวนมากเกิดขึ้นจากสิ่งที่ผู้อื่นได้ค้นพบแล้ว ซึ่งมาจากคำพูดที่โด่งดังของเซอร์ไอแซค นิวตัน "หากฉันได้เห็นมากกว่านี้ ก็เป็นเพราะยืนอยู่บนไหล่ของยักษ์"